วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2563

 มลพิษทางอากาศ

โลกของเรามีชั้นของบรรยากาศห่อหุ้มอยู่โดยรอบหนาประมาณ 15 กิโลเมตร ชั้นของบรรยากาศดังกล่าวนี้ ประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจน ออกซิเจน ฝุ่นละอองไอน้ำ และเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ ในจำนวนก๊าซเหล่านี้ ก๊าซที่สำคัญที่สุดต่อการดำรงอยู่ของ สิ่งมีชีวิตในโลก คือ ก๊าซออกซิเจนและชั้นของบรรยากาศที่มีก๊าซออกซิเจนเพียงพอ ต่อกา อ่านเพิ่มเติม



การใช้ประโยชน์จากอากาศ
 อากาศมีประโยชน์ต่อโลกที่เราอาศัยอยู่และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลก อากาศที่อยู่รอบตัวเราและห่อหุ้มโลกที่เหมาะต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ จะอยู่ในบริเวณที่นับจากพื้นผิวโลกขึ้นไปประมาณ 5 – 6 กิโลเมตรเท่านั้น ทั้งนี้เนื่องจากในบริเวณดังกล่าวมีออกซิเจนและก๊าซต่าง ๆ เป็นองประกอบที่ค่อนค่างคงที่ แต่ป อ่านเพิ่มเติม



  ธาตุ

ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ  อ่านเพิ่มเติม



อะตอม

 อะตอม หรือเดิมเรียก ปรมาณู (อังกฤษatomกรีกάτομον) เป็นหน่วยพื้นฐานของสสาร ประกอบด้วยส่วนของนิวเคลียสที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ นิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุบวกกับนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไ อ่านเพิ่มเติม



 องค์ประกอบของอากาศ

อากาศจัดเป็นของผสม โดยประกอบด้วยก๊าซต่างๆ เช่น ไอน้ำ, เขม่า, ควันไฟ, และอนุภาคต่างๆ ปะปนกันอยู่ สำหรับอากาศที่ไม่มีไอน้ำอยู่เลย เรียกว่า อากาศแห้ง ส่วนอากาศที่มีไอน้ำเป็นส่วนผสมอยู่ด้วยเรีย อ่านเพิ่มเติม



การละลายแบบไม่แตกตัว

 นอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte) หมายถึง สารที่ี่ไม่สามารถนำไฟฟ้าได้เมื่อละลายน้ำ ทั้งนี้เนื่องจาก สารพวกนอนอิเล็กโทรไลต์ จะไม่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ เช่น น้ำบริสุทธิ์ น้ำตาล แอลกอฮอล์ เป็นต้น ความแตกต่างของสารอิ อ่านเพิ่มเติม



การละลายของสารในน้ำ

 สารที่ละลายในน้ำ หรือ เอเควียส (อังกฤษ: Aqueous solution)​ คือสารละลายที่มีตัวทำละลายเป็นน้ำ มักจะแสดงไว้ในสมการเคมีโดยใส่ "(aq)" ต่อท้ายสสารนั้น ซึ่ง aq ย่อมาจาก aqueous หมายถึงความเกี่ยวข้องหรือการละลา อ่านเพิ่มเติม



  พันธะไอออนิก ( Ionic bond ) หมายถึง พันธะระหว่างอะตอมที่อยู่ในสภาพอิออนที่มีประจุตรงกันข้ามกัน ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอน 11 ตัว หรือมากกว่า จากอิเล็กตรอนวงนอกสุดของอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่ง เพื่อให้จำนวนอิเล็กตรอนวงนอกสุด ครบออกเตต ซึ่งเกิ อ่านเพิ่มเติม

 สารในแหล่งน้ำธรรมชาติ

1.จุลินทรีย์ (Micro Organism) เป็นสิ่งมีชีวิตที่พบได้ทั่วไป ทั้งในแหล่งน้ำธรรมชาติ
แหล่งน้ำใต้ดิน ตลอดจนน้ำทิ้งจากอาคารบ้านเรือนแหล่งชุมชนและโรงงาน
อุตสาหกรรม ได้แก่ ไวรั อ่านเพิ่มเติม



 การเปลี่ยนสถานะของน้ำและการมีขั้ว

แม้ว่าองค์ประกอบส่วนใหญ่ของบรรยากาศจะเป็นไนโตรเจนและออกซิเจน  แต่แก๊สทั้งสองชนิดไม่ได้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ  เนื่องจากมีจุดหลอมเหลวและจุดเยือกแข็งต่ำมาก   อุณหภูมิของบรรยากาศและพื้นผิวโลกสูงเกินกว่าที่จะทำให้แก๊สทั้งสองชนิดเปลี่ยนสถานะได้   ยกตัวอย่าง หากจะทำให้แก๊สไนโตรเจนในอากาศเปลี่ยนสถานะเป็นของเ อ่านเพิ่มเติม






 สารโควาเลนต์

กิดจากอะตอมของอโลหะทำปฏิกิริยากับอะตอมของอโลหะโดยอะตอมของอโลหะจะนำอิเล็กตรอนวงนอกมาใช้ร่วมกันเป็นคู่ ๆเพื่อให้อยู่สภาวะที่เสถียร และจะอยู่เป็นโมเลกุลชัดเจนว่า1โมเลกุลมี อ่านเพิ่มเติม

 โมเลกุลของน้ำ

น้ำเป็นสารที่มีสมบัติทางกายภาพแตกต่างจากสารอื่น เนื่องจากมี 3 สถานะ คือ เป็นของแข็งหรือน้ำแข็ง (ice water)  ของเหลว (liquid water) และก๊าซหรือไอน้ำ (water vapour) ในธรรมชาติน้ำอยู่ในสถานะของเหลวมากที่สุด อ่านเพิ่มเติม








 การเปลี่ยนแปลงของพอลิเมอร์เมื่อได้รับความร้อน

พอลิเมอร์แต่ละชนิดเมื่อได้รับความร้อนจะเกิดการเปลี่ยนแปลงต่างกัน โดยที่พอลิเมอร์ที่หลอมเหลวเมื่อเพิ่มอุณหภูมิและเข็งตัวเมื่อลดอุณหภูมิ เรียกว่า พอลิเมอร์เทอร์มาพลาสติก ส่วนพอลิเมอร์ที่ไม่หลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อนสูง เรียกว่า พอลิเมอร์เทอร์มอเซต










ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้พลาสติก 

ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโลก ล้วนเกิดจากฝีมือมนุษย์ โดยเฉพาะปัญหาขยะพลาสติกล้นเมืองที่ไหลลงสู่ทะเลกลายเป็นปัญหาระดับโลก ก่อให้เกิดปัญหามลภาวะต่าง ๆ ตามมาอย่างมากมาย ซึ่งขณะนี้หล อ่านเพิ่มเติม




 เมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์ (MelamineFormaldehyde)


เมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์เป็นพอลิเมอร์ ที่ได้จากปฏิกิริยาคอนเดนเซชันของเมลามีนกับฟอร์มาลดีไฮด์ โครงสร้างเป็นโครงข่ายร่างแหหนาแน่นทั้งสามมิติที่แข็งแรงคล้ายฟีนอลฟอร์มาลดีไฮด์ มีสีขุ่นทึบ ลักษณะของเรซินมีทั้งเป็นผ อ่านเพิ่มเติม


 พลาสติกพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต  PET 

เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอโนเมอร์ (monomer) หลายๆ ตัวซึ่งได้จากปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน (esterification) ระหว่าง terephthalic acid (TPA) กับ ethylene glycol (EG หรือ ethanediol) โดยมีน้ำเกิดขึ้นในปฏิกิริยา หรือเกิดจากมอโนเมอร์ อ่านเพิ่มเติม



วันพุธที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2563

 พอลิสไตรีน (polystyrene, PS) 

พอลิสไตรีน (polystyrene, PS)เป็นพลาสติก ที่เป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์ (packaging material) สำหรับบรรจุอาหาร พลาสติกจำพวก PS นี้ ใช้ผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ อ่านเพิ่มเติม



 พอลิโพรไพลีน (polypropylene)

พอลิโพรไพลีน (polypropylene) เรียกย่อว่า PP เป็นพลาสติกชนิดหนึ่งที่ใช้เป็นวัสดุสำหรับผลิตบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร

มีความหนาแน่นค่อนข้างต่ำ ความหนาแน่น 0.90-0.91 มีจุดหลอมเหลว 160-170 องศาเซลเซียส อ่านเพิ่มเติม



พอลิเอทิลิน (Polyethylene)
พลาสติก PE หรือ Polyethylene (โพลีเอทิลีน) เป็นโพลิเมอร์ตระกูล โพลีโอลิฟิน (Polyolefins) ที่ได้จากอะลิฟาติกไฮโดรคาร์บอนแบบไม่อิ่มตัว มีพันธะคู่อยู่ 1 คู่ ใน 1 โมเลกุล เอทิลีนโมเนอร์เมอร์มีจุดเดือด -104 C ได้มาจากก อ่านเพิ่มเติม


 พอลิเมอร์สังเคราะห์ เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากการสังเคราะห์เพื่อใช้ป อ่านเพิ่มเติม



 บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร

บรรจุภัณฑ์เข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมอาหารมากขึ้นเรื่อยๆ และมีอัตราการเติบโตควบคู่ไปกับการเติบโตของอุตสาหกรรมอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหารมีบทบาทสำคัญในการยืดอายุการเก็บรักษาและรักษาคุณภาพอาหาร ทั้งในด้านกลิ่นสี ร อ่านเพิ่มเติม



 วิตามิน

วิตามินเป็นสารอาหารที่ร่างกายของเราต้องการในปริมาณน้อย แต่ก็ไม่สามารถขาดได้ ถ้าขาดจะทำให้ระบบร่างกายของเราผิดปกติ หรือเกิดโรคต่างๆ ได้ วิตามินแบ่งอ อ่านเพิ่มเติม

โปรตีน (Protein)

 ‘โปรตีน’ (Protein) ถือเป็นสารอาหารหลักของร่างกาย เหมือนกับคาร์โบไฮเดรตและไขมัน โดยพบในส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่ว่าจะเป็นในกล้ามเนื้อ เม็ดเลือด กระดูก ผิวหนัง และเส้นผม นอกจากจะให้พลังงานกับร่างกายแล้ว โปรตี อ่านเพิ่มเติม



 คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) 

คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) คือสารอาหารหลักชนิดหนึ่งซึ่งเป็นแหล่งพลังงานสำคัญของร่างกาย อาหารส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยคาร์โบไฮเดรตและสารอาหารหลักช อ่านเพิ่มเติม



 กรดลิโนเลอิก

กรดลิโนเลอิกพบมากในน้ำมันพืช เช่น น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันงา (sesame) น้ำมันถั่วลิสง น้ำมันข้าวโพด น้ำมันเมล็ดฝ้าย น้ำมันเมล็ดทานตะวัน น้ำมันเมล็ดคำฝอย (safflower oil) evening primrose oil น้ำมันอั อ่านเพิ่มเติม




กรดไขมันแอลฟาไลโนเลนิก (Alpha-linolenic acid)

 กรดไขมันแอลฟาไลโนเลนิก (Alpha-linolenic acid) หรือ ALA เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นกรดไขมันจำเป็นในกลุ่มกรดไขมันโอเมก้า 3 เช่นเดียวกับกรดไขมันอีพีเอ (Eicosapentaemic acid: EPA) และก อ่านเพิ่มเติม





 กรดไขมันอิ่มตัวและกรดไขมันไม่อิ่มตัวต่างกันอย่างไร

กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated fatty acid) คือ ไขมันอิ่มตัวส่วนใหญ่พบในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนม 
เช่น เนื้อวัวติดมัน เนื้อแกะ เนื้อหมู (รวมถึงเบคอนและแฮม) เนื้อไก่ที่มีหนัง ไขมันวัว (tallow) น้ำมั อ่านเพิ่มเติม







 ไขมันและน้ำมัน

ไขมันประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน โมเลกุลของไขมัน ประกอบด้วยกรีเซอรีน 1 โมเลกุล และกรดไขมัน 3 โมเลกุล ซึ่งอาจเป็นกรดไขมันชนิดเดียวกันหรือต่างกันได้ ไขมันมีหลายชนิด แล้วแต่ชนิดของกรดไขมันที่เป็นส่วนประกอบ ไขมันในอาหาร ประกอบด้วย ไตรกลีเซอไรด์ (Triglycerides) เป็นส่วนใหญ่ และ โค อ่านเพิ่มเติม





 มลพิษทางอากาศ โลกของเรามีชั้นของบรรยากาศห่อหุ้มอยู่โดยรอบหนาประมาณ 15 กิโลเมตร ชั้นของบรรยากาศดังกล่าวนี้ ประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจน ออกซิเจน ...